สินค้าและบริการ
-Mifepristone
ออกฤทธิ์โดยการยับยั้งตัวรับฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรน (Progesterone) ทำให้ผนังมดลูกเกิดการเปลี่ยนแปลง และไม่เหมาะ สำหรับการฝังตัวของตัวอ่อน ทำให้ปากมดลูกนิ่มขึ้นและเปิดขยายออก อีกทั้งยังทำให้ผนังมดลูกไวต่อพรอสตาแกลนดิน (เช่น Misoprostol) เพิ่มขึ้นด้วย
-Mesoprostol
เป็นยาในกลุ่มที่ใช้เพื่อให้เกิดการคลอด ใช้เพื่อป้องกันและรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร และใช้รักษาภาวะตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากการหดตัวของมดลูกน้อย การใช้ยามีโซโพรซอลอาจก่อให้เกิดการแท้งได้เนื่องจากการยาทำให้เกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ด้วยสาเหตุนี้เองจึงมีการนำยานี้ไปใช้ในการทำแท้งผิดกฎหมาย นอกจากนี้ยายังถูกจัดอยู่ใน category X ตามองค์การอาหารและยา สหรัฐอเมริกา คือ ไม่ให้ใช้ยานี้ในสตรีมีครรภ์ ยามีโซโพรซอลถูกค้นพบครั้งแรกในปีค.ศ. 1973 และอยู่ในบัญชียาหลักขององค์การอนามัยโลก
-ชุดยากิน
ยา Misoprostol แบบรับประทานมีประสิทธิผลในการชักนำ (การแท้ง) ให้เจ็บครรภ์เตรียมที่จะคลอด มันมีประสิทธิผลมากกว่ายาสอด มีประสิทธิผลเท่ากับยา Misoprostol และ Dinoprostone แบบเหน็บช่องคลอด และมีผลให้การผ่าครรภ์คลอดน้อยกว่า Oxytocin อย่างไรก็ตามยังคงมีข้อมูลไม่เพียงพอจากการศึกษาแบบ Randomised controlled trials ในการกำหนดปริมาณยาที่ดีที่สุดเพื่อความปลอดภัย
-ชุดยาสอด
ยายุติการตั้งครรภ์แบบสอดเป็นยาที่ใช้สำหรับการยุติการตั้งครรภ์และจะใช้โดยการสอดเข้าไปในปากมดลูก. ตัวยาที่ใช้บ่อยที่สุดคือ “ไมโซโพรสทอล (Misoprostol)”
การสอดยาไมโซโพรสทอลในปากมดลูก มีประสิทธิภาพในการขับเยื่อบุมดลูกอ่อนนิ่มและสามารถใช้ร่วมกับยาไมเฟพริสโตน (Mifepristone) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพที่ดีกว่า
อย่างไรก็ตาม, การใช้ยายุติการตั้งครรภ์แบบสอดต้องใต้การดูแลของแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ และในสภาพแวดล้อมที่ถูกต้อง การใช้ยาเพื่อยุติการตั้งครรภ์โดยไม่ได้รับคำแนะนำจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญมีความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดอันตรายได้
สิ่งที่ควรแจ้งแพทย์ เภสัชกร และพยาบาลในการสั่งใช้ยา
แพทย์และเภสัชกรสามารถให้ข้อมูลการใช้ยาอย่างปลอดภัย ผู้ป่วยควรแจ้งข้อมูลเหล่านี้แก่แพทย์หรือเภสัชกรเพื่อประโยชน์ต่อผู้ป่วยและลดความเสี่ยงในการเกิดอันตรายจากการใช้ยา
- แจ้งข้อมูลการใช้ยารักษาโรคประจำตัว ยาที่เพิ่งรับประทานก่อนหน้านี้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่รับประทาน (รวมถึงวิตามิน และสมุนไพร) ในกรณีมียาประจำตัวจำนวนมาก ให้พกยาเพื่อให้แพทย์หรือเภสัชกรช่วยตรวจสอบก่อนสั่งจ่ายยาใหม่ ไม่ให้เกิดอันตรกิริยาระหว่างยาที่จะได้รับใหม่และยาที่เดิมที่ผู้ป่วยใช้อยู่
- แจ้งประวัติการแพ้ยา หรืออาการแพ้ที่เกิดขึ้นเมื่อใช้ยา ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร หรือแพ้อาหารชนิดใดอยู่ (เนื่องจากยาบางชนิดมีส่วนประกอบของไข่ขาว นม ยีสต์) อาการที่เกิดขึ้น เช่น อาการบวม เกิดผื่น หายใจลำบาก หรือให้นำบัตรแพ้ยา พกติดตัวและแสดงบัตรนี้แก่แพทย์และเภสัชกรก่อนเข้าใช้บริการสุขภาพทุกครั้ง
- แจ้งข้อมูลในกรณีที่มีการตั้งครรภ์ หรือมีแผนที่จะตั้งครรภ์ หรือกำลังให้นมบุตร เนื่องจากยาบางชนิดส่งผลอันตรายต่อเด็กในครรภ์ หรือสามารถขับออกทางน้ำนมได้
- แจ้งข้อมูลที่จะส่งผลต่อการรับประทานยา เช่น มีปัญหาการกลืนลำบาก มีปัญหาด้านการมองเห็นหรืออ่านฉลากยา วิธีการรับประทานยา เพื่อแพทย์หรือเภสัชกรจะได้ช่วยแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง